จากสุวิทย์ วัดหนู ถึงคนรุ่นต่อไป
(ว่าด้วยความทรงจำและการระลึกถึง)
สนั่น ชูสกุล - 7 พฤษภาคม 2550
อุดมคติย่อมเป็นคุณค่าที่คงความดีงามอยู่ทุกยุคทุกสมัย
กระแสการพัฒนาในโลกใบเล็กๆนี้ กำลังถุกฉุดกระชากลากถูไปด้วยค่านิยมแห่งความมั่งคั่ง ผู้คนล้วนไขว่คว้าดิ้นรนแย่งชิงไล่ล่ากันอย่างเดือดพล่าน เราล้วนลูกชี้นำด้วยแรงจูงใจแห่งการซื้อขาย เต็มใจควักหยิบเอาจิตวิญญาณออกมาแปรรูปเร่เสนอขาย นักบวชกลายเป็นเซลล์แมน นักสังคมนิยมสยบยอมอยู้ใต้ปีกสังคมทุน ครูอาจารย์เร่ขายชั่วโมงสอนท่องจำ บัณฑิตลี้หลีกสังคม ที่สุดเราก็ต้องตัดสินเรื่องบ้านเมืองกันด้วยกำลัง มิใช่องค์ความรู้หรือศีลธรรม ชาวบ้านธรรมดาผู้เป็นเจ้าของทรัพยากรโดยชอบธรรมถูกแย่งสิทธิไปจากมือ คนรุ่นต่อไปกำลังล่องลอยเคว้งคว้างไร้หลักยึดเหนี่ยวในชีวิต สังคมคนใกล้เคียงสังคมแห่งเดรัจฉานเข้าไปทุกวัน
เราล้วนอยู่บนทางเลือกทางแยกของการยอมตนตกลงเป็นทาส การปล่อยตนวนว่ายอยู่ในเกลียวคลี่นของความเปลี่ยนแปลง หรือ การคิดแข็งขืนขบถต่อมัน บางท่านกล่าวว่าระบบเศรษฐกิจการเมืองอันสามานย์ จะทำลายตัวมันเอง แล้วจะถึงเวลาของการรื้อสร้างปฏิสังขรณ์สร้างสังคมกันใหม่
ในบ้านเมืองของเรากำลังนี้ เราต้องมองให้เห็น เรามิได้สิ้นไร้ความหวังหรอก ยังมีคนธรรมดาสามัญอีกมากที่ยืนหยัดอยู่ในสัจจะและอุดมคติด้วยความอดทน ทุกยุคทุกสมัยในประวัติศาสตร์ย่อมมีคนเช่นนี้ ในยุคสมัยของเรา ท่านเหล่านี้ล้วนถุกกล่าวหาว่าเป็นคนส่วนน้อย ผู้ขัดขวางการพัฒนา และอีกสารพัดข้อกล่าวหาที่จะถูกยัดเยียดให้เป็น แต่สัจจะและอุดมคติย่อมมีคุณค่าที่คงความดีงามอยู่ทุกยุคทุกสมัย แม้นักอุดมคติอาจจะถูกสังเวยด้วยชีวิตหรือการคุกคามนานาชนิดที่สังคมสามานย์ มักหยิบยื่นให้ แต่วีรกรรมของเขาจะไม่มีวันถูกลืม และจะถูกจดจำไว้เป็นเครื่องหล่อเลี้ยงจิตวิญญาณของคนรุ่นต่อไปเสมอ
สุวิทย์ วัดหนู เลือกที่จะเป็นคนธรรมดา ยากจน เชื่อในอุดมคติ พร้อมทุกเมื่อที่จะต่อสู้เพื่อรักษามันไว้ให้คงอยู่คู่สังคมแห่งนี้ เขาไปทุกที่เพื่อตีต่อกับความอยุติธรรม เขาเชื่อในพลังของชาวบ้านคนยากคนจนและเห็นว่าคนเหล่านั้นอยู่กับความจริง และเป็นผู้รักษาศีลธรรมอันดีที่มนุษย์ ควรมีไว้มากที่สุด เขาไม่เคยเหน็ดเหนื่อยที่จะนั่งลงฟังปัญหาของคนจน พร้อมให้คำปรึกษาด้วยความอ่อนน้อมถ่อมตน เพื่อคนจนเหล่านั้นได้ลุกขึ้นมาจัดตั้งตัวเองอย่างเข้มแข็ง และเขาไม่เคยละเว้นที่จะเอาตัวเองเข้าเผชิญหน้ากับผู้ใช้อำนาจอย่างอ ยุติธรรม เคียงบ่าเคียงไหล่กับผู้โดนกดขี่รังแก
ขอให้เราได้จารจดวีรกรรมเล็กๆ แต่ยิ่งใหญ่ของคนผู้นี้ไว้ถ่ายทอด เป็นพลังของนักต่อสู้รุ่นต่อไปเถิด
ที่ มา สุวิทย์ วัดหนู นักรบประชา เคียงข้างคนจน
คณะจัดทำหนังสืออนุสรณ์แห่ง ชีวิต สุวิทย์ วัดหนู
วันที่ 20 ธันวาคม 2495 - วันที่ 11 มีนาคม 2550
วันพุธที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2552
วันจันทร์ที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2552
ครูอารมณ์ มีชัย ครูและแม่ของประชาชน โดย นายนิติรัตน์ทรัพย์สมบูรณ์ 18 กุมภาพันธ์ 2552
ผมได้รู้จักครูอารมณ์ มีชัย พร้อมๆกับยุทธพันธ์ มีชัย ลูกชายของครูอารมณ์ เนื่องจากเป็นเพื่อนในแวดวงกิจกรรมนักศึกษาด้วยกัน ในช่วงปี 2533-2537 ผมสังกัดคณะกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อม 16 สถาบัน (คอทส.) และสหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย (สนนท.) ขณะที่ยุทธพันธุ์ มีชัย สังกัดพรรคสานแสงทอง มหาวิทยาลัยรามคำแหง
กล่าวได้ว่า การเคลื่อนไหวของกลุ่มพลังทางสังคมในช่วงนั้น อาทิ คณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.) สหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย, คระกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อม 16 สถาบัน ก่อนเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2535 เป็นห้วงของการคัดค้านการรัฐประหารของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) การคัดค้านการสืบทอดอำนาจของ รสช. การคัดค้านรัฐธรรมนูญฉบับ รสช. การคัดค้านโครงการจัดที่ทำกินให้กับราษฎรผู้ยากไร้ในพื้นที่ป่าสงวนเสื่อม โทรม ภายใต้การดำเนินงานของกองทัพบก ฯลฯ
จากห้วงสถานการณ์นั้นเอง ที่นำผมให้ได้มารู้จักกับครูอารมณ์ ซึ่งเป็นนักกิจกรรมทางสังคม ผู้จะมีบทบาทสำคัญใน "สมาพันธ์ประชาธิปไตย" ที่ปฏิบัติการขับไล่ สุจินดา คราประยูร นายกรัฐมนตรีที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้งจากเหตุการณ์ 17-20 พฤษภาคม 2535 หรือเหตุการณ์พฤษภาประชาธรรม 2535. ภาพประทับแรกที่ผมมีต่อครูอารมณ์ คือ ครูอารมณ์เป็นสตรีนักสู้และเป็นนักปราศรัยที่มีพลังยิ่ง
เช่นเดียวกับภาพประทับใจในอีก 15 ปีต่อมา จากการที่ครูอารมณ์ มีชัย ได้เข้าร่วมการต่อสู้ระบอบทักษิณ ร่วมกับพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยและแนวร่วมองค์กรประชาธิปไตย องค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรประชาชน ที่ได้จัดตั้งขึ้นในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2549 ที่อนุสรณ์สถาน 14ตุลา ถนนราชดำเนิน
จนกระทั่งเข้าสู่การชุมนุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ยกที่ 2 ภายใต้คำขวัญหลัก "เพื่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์" ในวันที่ 25 พฤษภาคม 2551 ครูอารมณ์ก็ยังคงเป็นสตรีนักสู้และนักปราศรัยที่ทรงพลังบนเวทีพันธมิตรประชา ชาเพื่อประชาธิปไตย แม้สังขารกายจะกำลังเผชิญความเจ็บป่วยจากโรคมะเร็ง จนผมบนศรีษะบางลง จนเสียงแหบพร่าเล็กแหลม แต่ไม่ได้ทำให้พลังมหาศาลจากชีวิตและจิตวิญญาณของครูเสื่อมถอยลงแม้แต่น้อย ถ้อยคำของครูยังคงสะกดคนให้หยุดตรึงในทุกช่วงของการปราศรัย
นั่นคือวิถีของครูอารมณ์ มีชัย ซึ่งเป็นวิถีแห่งการต่อสู้ และการไม่ยอมจำนนต่อโรคร้าย แน่นอน ครูย่อมจะไม่ยอมจำนนต่อความอยุติธรรมทางโครงสร้าง ไม่ยอมจำนนต่อความเหลื่อมล้ำต่ำสูงทางชนชั้น และไม่ยอมศิโรราบให้กับเผด็จการ
นอกจากวิถีของการเป็นครูนักสู้แล้ว ครูอารมณ์จะยังเป็นแม่ที่เป็นแบบอย่างของประชาชน แม่ของเด็กและเยาวชนที่เป็นพลังของปัจจุบันและอนาคตของสังคม ครูอารมณ์ได้จัดตั้งศูนย์ดูแลเด็กยากจน กำพร้า และดูแลเด้กที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ จนครูอารมณ์ได้รับรางวัลแม่ดีเด่นแห่งชาติ สาขาผู้เสียสละและทำคุณประโยชน์เพื่อสังคม พ.ศ.2540
สิ่งที่ครูได้สั่งสอนและแม่ได้สร้างทำมาทั้งชีวิตอย่างไม่รู้จักเหน็ด เหนื่อย ทำให้พวกเรามีกำลังใจในการทำงาน ทำให้เราเห็นแบบอย่างของการเสียสละ และอดทนต่อการลงแรงเดินทางตามความใฝ่ฝันถึงจินตภาพของการเมืองใหม่และสังคม ใหม่ ที่จะนำมาซึ่งชีวิตความเป็นอยู่และคุรภาพชีวิตที่ดีของประชาชน สมดุลยภาพของสังคมและประเทศชาติ การเมืองที่ยุติธรรมและเป็นประชาธิปไตย
ในช่วงที่ครูและแม่ใกล้จากเราไป ผมได้เดินทางไปเยี่ยมครูอารมณ์ในทันที เมื่อได้รับรู้อาการผ่านการบอกเล่าของยุทธพันธุ์ แม้ในวันนั้น ครูอารมณ์จะไม่สามารถเอื้อนเอ่ยสิ่งใดๆ กับพวกเราแล้วก็ตาม แต่ใบหน้าที่เปี่ยมสุขของครู จะถือเป็นภาพประทับสุดท้ายที่ผมไม่ลืมเลือน
คืนวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2552 ณ เวลา 23.38 น. แม้ชีวิตของครูจะจากพวกเราไปแล้วก็ตาม แต่จิตวิญญาณการต่อสู้ของครูจะยังคงอยู่กับพวกเราเป็นนิรันดร์ ขอคารวะและเชิดชูจิตใจการต่อสู้ของครู มา ณ ที่นี้
หลับเถิด ครูอารมณ์ ครูและแม่ของประชาชน
ที่มา "อารมณ์ มีชัย ตราไว้ในใจชน"
หนังสือที่ระลึก งานพระราชทานเพลิงศพ อาจารย์อารมณ์ มีชัย
22 กุมภาพันธ์ 2552
กล่าวได้ว่า การเคลื่อนไหวของกลุ่มพลังทางสังคมในช่วงนั้น อาทิ คณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.) สหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย, คระกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อม 16 สถาบัน ก่อนเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2535 เป็นห้วงของการคัดค้านการรัฐประหารของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) การคัดค้านการสืบทอดอำนาจของ รสช. การคัดค้านรัฐธรรมนูญฉบับ รสช. การคัดค้านโครงการจัดที่ทำกินให้กับราษฎรผู้ยากไร้ในพื้นที่ป่าสงวนเสื่อม โทรม ภายใต้การดำเนินงานของกองทัพบก ฯลฯ
จากห้วงสถานการณ์นั้นเอง ที่นำผมให้ได้มารู้จักกับครูอารมณ์ ซึ่งเป็นนักกิจกรรมทางสังคม ผู้จะมีบทบาทสำคัญใน "สมาพันธ์ประชาธิปไตย" ที่ปฏิบัติการขับไล่ สุจินดา คราประยูร นายกรัฐมนตรีที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้งจากเหตุการณ์ 17-20 พฤษภาคม 2535 หรือเหตุการณ์พฤษภาประชาธรรม 2535. ภาพประทับแรกที่ผมมีต่อครูอารมณ์ คือ ครูอารมณ์เป็นสตรีนักสู้และเป็นนักปราศรัยที่มีพลังยิ่ง
เช่นเดียวกับภาพประทับใจในอีก 15 ปีต่อมา จากการที่ครูอารมณ์ มีชัย ได้เข้าร่วมการต่อสู้ระบอบทักษิณ ร่วมกับพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยและแนวร่วมองค์กรประชาธิปไตย องค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรประชาชน ที่ได้จัดตั้งขึ้นในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2549 ที่อนุสรณ์สถาน 14ตุลา ถนนราชดำเนิน
จนกระทั่งเข้าสู่การชุมนุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ยกที่ 2 ภายใต้คำขวัญหลัก "เพื่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์" ในวันที่ 25 พฤษภาคม 2551 ครูอารมณ์ก็ยังคงเป็นสตรีนักสู้และนักปราศรัยที่ทรงพลังบนเวทีพันธมิตรประชา ชาเพื่อประชาธิปไตย แม้สังขารกายจะกำลังเผชิญความเจ็บป่วยจากโรคมะเร็ง จนผมบนศรีษะบางลง จนเสียงแหบพร่าเล็กแหลม แต่ไม่ได้ทำให้พลังมหาศาลจากชีวิตและจิตวิญญาณของครูเสื่อมถอยลงแม้แต่น้อย ถ้อยคำของครูยังคงสะกดคนให้หยุดตรึงในทุกช่วงของการปราศรัย
นั่นคือวิถีของครูอารมณ์ มีชัย ซึ่งเป็นวิถีแห่งการต่อสู้ และการไม่ยอมจำนนต่อโรคร้าย แน่นอน ครูย่อมจะไม่ยอมจำนนต่อความอยุติธรรมทางโครงสร้าง ไม่ยอมจำนนต่อความเหลื่อมล้ำต่ำสูงทางชนชั้น และไม่ยอมศิโรราบให้กับเผด็จการ
นอกจากวิถีของการเป็นครูนักสู้แล้ว ครูอารมณ์จะยังเป็นแม่ที่เป็นแบบอย่างของประชาชน แม่ของเด็กและเยาวชนที่เป็นพลังของปัจจุบันและอนาคตของสังคม ครูอารมณ์ได้จัดตั้งศูนย์ดูแลเด็กยากจน กำพร้า และดูแลเด้กที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ จนครูอารมณ์ได้รับรางวัลแม่ดีเด่นแห่งชาติ สาขาผู้เสียสละและทำคุณประโยชน์เพื่อสังคม พ.ศ.2540
สิ่งที่ครูได้สั่งสอนและแม่ได้สร้างทำมาทั้งชีวิตอย่างไม่รู้จักเหน็ด เหนื่อย ทำให้พวกเรามีกำลังใจในการทำงาน ทำให้เราเห็นแบบอย่างของการเสียสละ และอดทนต่อการลงแรงเดินทางตามความใฝ่ฝันถึงจินตภาพของการเมืองใหม่และสังคม ใหม่ ที่จะนำมาซึ่งชีวิตความเป็นอยู่และคุรภาพชีวิตที่ดีของประชาชน สมดุลยภาพของสังคมและประเทศชาติ การเมืองที่ยุติธรรมและเป็นประชาธิปไตย
ในช่วงที่ครูและแม่ใกล้จากเราไป ผมได้เดินทางไปเยี่ยมครูอารมณ์ในทันที เมื่อได้รับรู้อาการผ่านการบอกเล่าของยุทธพันธุ์ แม้ในวันนั้น ครูอารมณ์จะไม่สามารถเอื้อนเอ่ยสิ่งใดๆ กับพวกเราแล้วก็ตาม แต่ใบหน้าที่เปี่ยมสุขของครู จะถือเป็นภาพประทับสุดท้ายที่ผมไม่ลืมเลือน
คืนวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2552 ณ เวลา 23.38 น. แม้ชีวิตของครูจะจากพวกเราไปแล้วก็ตาม แต่จิตวิญญาณการต่อสู้ของครูจะยังคงอยู่กับพวกเราเป็นนิรันดร์ ขอคารวะและเชิดชูจิตใจการต่อสู้ของครู มา ณ ที่นี้
หลับเถิด ครูอารมณ์ ครูและแม่ของประชาชน
ชัยชนะจักต้องเป็นของประชาชน
นิติรัตน์ ทรัพย์สมบูรณ์
กุมภาพันธ์ 2552
นิติรัตน์ ทรัพย์สมบูรณ์
กุมภาพันธ์ 2552
ที่มา "อารมณ์ มีชัย ตราไว้ในใจชน"
หนังสือที่ระลึก งานพระราชทานเพลิงศพ อาจารย์อารมณ์ มีชัย
22 กุมภาพันธ์ 2552
วันเสาร์ที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2552
ธารน้ำใจ-สุรชัย จันทิมาธร ...อัลบั้ม รวมพลคนอาสา ธารรัก ธารน้ำใจ สู่ไทยอันดามัน ชุดที่๓
อัลบั้ม รวมพลคนอาสา ธารรัก ธารน้ำใจ สู่ไทยอันดามัน Vol3. มหกรรมรวมน้ำใจครั้งยิ่งใหญ่ของศิลปิีนเพื่อชีวิต โดย เครือข่ายศิลปินเพื่อชีวิต ร่วมกับ มูลนิธิสายธารประชาธิปไตย, สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา, มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ, สหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, มูลนิธิมิตรภาพสู่ท้องถิ่น, มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์, สถาบันการเรียนรู้และพัฒนาประชาสังคม, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ คณะกรรมการเตรียมงาน 30 ปี 6 ตุลา.. ขอคารวะน้ำใจอันยิ่งใหญ่ของคนไทยทั้งประเทศ เผยแพร่โดย บ้านศิลปะ ดนตรี กวีประชาชน http://thaibansinlapin.blogspot.com
ธารรัก ธารน้ำใจ
หนึ่งที่ได้ คือเสียงเพลง เสียงกวีที่ให้เป็นกำลังใจแด่พี่น้องผู้ประสบภัย และอาสาสมัครที่ลงพื้นที่โดยมิได้นัดหมาย
อีกหนึ่งที่ได้ คือ การรวมเป็นหนึ่งเดียวของศิลปะ ศิลปินทั่วประเทศ
ซึ่งในโอกาสต่อไปทุกท่านเหล่านี้จะเป็นอีกส่วนหนึ่งของ การสร้างสรร
ต่อสู้ สู่ความงดงามของสังคม ร่วมกับพี่น้องเครือข่าย กลุ่มองคืกรต่างๆที่ทำงานเพื่อประชาชน และประเทศชาติ
และอีกหนึ่งที่ได้ - คือ การได้ทำหน้าที่ของตน โดยสมบูรณ์
// ความเป็นมา
เหตุการณ๋ ภัยพิบัติ "สินามึ" เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ได้กระตุ้นกระแสธารน้ำใจขนาดมหึมาของประชาชนทั่วประเทศและทั่วโลกให้หลั่งไหลมาโอบอุ้มผู้ประสบเคราะห์กรรมอย่างล้นหลาม อย่างไม่เคนปรากฏมาก่อน
ในขณะที่องค์กรภาครัฐในพื้นที่ อยู่ในสภาวะช็อคจากเหตุการณ์และตรึงเครียดอยู่กับการรอรับคำสั่งจากทางหน่วยเหนือนั้น ปรากฏว่ามีคลื่นอาสาสมัครและกลุ่มองค์กร ภาคประชาสังคมทั้งในและนอกพื้นที่ได้รวมตัว เชื่อมโยงการดำเนินงานและก่อตัวเป็นเครือข่ายเพื่อเข้าไปช่วยเหลือชุมชนและประชาชนที่กำลังเดือดร้อนอย่างแข็งขันเคียงคู่กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เครือข่ายศิลปินเพื่อชีวิต ได้เล็งเห็นช่องว่างและตระหนักในปัญหานี้ จึงได้ริเริ่มรวมตัวกันจัดงานมหกรรมดนตรี "รวมพลคนอาสา ธารรัก ธารน้ำใจ สู่ไทยอันดามัน" ขึ้นในวันที่ 27 มีนาคม 2548 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ท่าพระจันทร์ เพื่อระดมทุนไปสนับสนุนการดำเนินงานของกลุ่มอาสาสมัครและองค์กรภาคประชาสังคมนี้ขึ้น และเป็นที่มาของอัลบั้มเพลงชุดนี้
อัลบั้ม รวมพลคนอาสา ธารรัก ธารน้ำใจ สู่ไทยอันดามัน Vol3. มหกรรมรวมน้ำใจครั้งยิ่งใหญ่ของศิลปินเพื่อชีวิต โดย เครือข่ายศิลปินเพื่อชีวิต ร่วมกับ มูลนิธิสายธารประชาธิปไตย, สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา, มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ, สหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, มูลนิธิมิตรภาพสู่ท้องถิ่น, มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์, สถาบันการเรียนรู้และพัฒนาประชาสังคม, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ คณะกรรมการเตรียมงาน 30 ปี 6 ตุลา.. ขอคารวะน้ำใจอันยิ่งใหญ่ของคนไทยทั้งประเทศ เผยแพร่โดย บ้านศิลปะ ดนตรี กวีประชาชน
น้ำตาทะเล- จิ้น กรรมาชน ...อัลบั้ม รวมพลคนอาสา ธารรัก ธารน้ำใจ สู่ไทยอันดามัน ชุดที่๓
อัลบั้ม รวมพลคนอาสา ธารรัก ธารน้ำใจ สู่ไทยอันดามัน Vol3. มหกรรมรวมน้ำใจครั้งยิ่งใหญ่ของศิลปิีนเพื่อชีวิต โดย เครือข่ายศิลปินเพื่อชีวิต ร่วมกับ มูลนิธิสายธารประชาธิปไตย, สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา, มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ, สหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, มูลนิธิมิตรภาพสู่ท้องถิ่น, มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์, สถาบันการเรียนรู้และพัฒนาประชาสังคม, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ คณะกรรมการเตรียมงาน 30 ปี 6 ตุลา.. ขอคารวะน้ำใจอันยิ่งใหญ่ของคนไทยทั้งประเทศ เผยแพร่โดย บ้านศิลปะ ดนตรี กวีประชาชน http://thaibansinlapin.blogspot.com
ธารรัก ธารน้ำใจ
หนึ่งที่ได้ คือเสียงเพลง เสียงกวีที่ให้เป็นกำลังใจแด่พี่น้องผู้ประสบภัย และอาสาสมัครที่ลงพื้นที่โดยมิได้นัดหมาย
อีกหนึ่งที่ได้ คือ การรวมเป็นหนึ่งเดียวของศิลปะ ศิลปินทั่วประเทศ
ซึ่งในโอกาสต่อไปทุกท่านเหล่านี้จะเป็นอีกส่วนหนึ่งของ การสร้างสรร
ต่อสู้ สู่ความงดงามของสังคม ร่วมกับพี่น้องเครือข่าย กลุ่มองคืกรต่างๆที่ทำงานเพื่อประชาชน และประเทศชาติ
และอีกหนึ่งที่ได้ - คือ การได้ทำหน้าที่ของตน โดยสมบูรณ์
// ความเป็นมา
เหตุการณ๋ ภัยพิบัติ "สินามึ" เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ได้กระตุ้นกระแสธารน้ำใจขนาดมหึมาของประชาชนทั่วประเทศและทั่วโลกให้หลั่งไหลมาโอบอุ้มผู้ประสบเคราะห์กรรมอย่างล้นหลาม อย่างไม่เคนปรากฏมาก่อน
ในขณะที่องค์กรภาครัฐในพื้นที่ อยู่ในสภาวะช็อคจากเหตุการณ์และตรึงเครียดอยู่กับการรอรับคำสั่งจากทางหน่วยเหนือนั้น ปรากฏว่ามีคลื่นอาสาสมัครและกลุ่มองค์กร ภาคประชาสังคมทั้งในและนอกพื้นที่ได้รวมตัว เชื่อมโยงการดำเนินงานและก่อตัวเป็นเครือข่ายเพื่อเข้าไปช่วยเหลือชุมชนและประชาชนที่กำลังเดือดร้อนอย่างแข็งขันเคียงคู่กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เครือข่ายศิลปินเพื่อชีวิต ได้เล็งเห็นช่องว่างและตระหนักในปัญหานี้ จึงได้ริเริ่มรวมตัวกันจัดงานมหกรรมดนตรี "รวมพลคนอาสา ธารรัก ธารน้ำใจ สู่ไทยอันดามัน" ขึ้นในวันที่ 27 มีนาคม 2548 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ท่าพระจันทร์ เพื่อระดมทุนไปสนับสนุนการดำเนินงานของกลุ่มอาสาสมัครและองค์กรภาคประชาสังคมนี้ขึ้น และเป็นที่มาของอัลบั้มเพลงชุดนี้
อัลบั้ม รวมพลคนอาสา ธารรัก ธารน้ำใจ สู่ไทยอันดามัน Vol3. มหกรรมรวมน้ำใจครั้งยิ่งใหญ่ของศิลปินเพื่อชีวิต โดย เครือข่ายศิลปินเพื่อชีวิต ร่วมกับ มูลนิธิสายธารประชาธิปไตย, สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา, มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ, สหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, มูลนิธิมิตรภาพสู่ท้องถิ่น, มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์, สถาบันการเรียนรู้และพัฒนาประชาสังคม, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ คณะกรรมการเตรียมงาน 30 ปี 6 ตุลา.. ขอคารวะน้ำใจอันยิ่งใหญ่ของคนไทยทั้งประเทศ เผยแพร่โดย บ้านศิลปะ ดนตรี กวีประชาชน
สานใจไทยสู่ภัยใต้ - ภูบรรทัด ...อัลบั้ม รวมพลคนอาสา ธารรัก ธารน้ำใจ สู่ไทยอันดามัน ชุดที่๓
อัลบั้ม รวมพลคนอาสา ธารรัก ธารน้ำใจ สู่ไทยอันดามัน Vol3. มหกรรมรวมน้ำใจครั้งยิ่งใหญ่ของศิลปิีนเพื่อชีวิต โดย เครือข่ายศิลปินเพื่อชีวิต ร่วมกับ มูลนิธิสายธารประชาธิปไตย, สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา, มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ, สหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, มูลนิธิมิตรภาพสู่ท้องถิ่น, มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์, สถาบันการเรียนรู้และพัฒนาประชาสังคม, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ คณะกรรมการเตรียมงาน 30 ปี 6 ตุลา.. ขอคารวะน้ำใจอันยิ่งใหญ่ของคนไทยทั้งประเทศ เผยแพร่โดย บ้านศิลปะ ดนตรี กวีประชาชน http://thaibansinlapin.blogspot.com
ธารรัก ธารน้ำใจ
หนึ่งที่ได้ คือเสียงเพลง เสียงกวีที่ให้เป็นกำลังใจแด่พี่น้องผู้ประสบภัย และอาสาสมัครที่ลงพื้นที่โดยมิได้นัดหมาย
อีกหนึ่งที่ได้ คือ การรวมเป็นหนึ่งเดียวของศิลปะ ศิลปินทั่วประเทศ
ซึ่งในโอกาสต่อไปทุกท่านเหล่านี้จะเป็นอีกส่วนหนึ่งของ การสร้างสรร
ต่อสู้ สู่ความงดงามของสังคม ร่วมกับพี่น้องเครือข่าย กลุ่มองคืกรต่างๆที่ทำงานเพื่อประชาชน และประเทศชาติ
และอีกหนึ่งที่ได้ - คือ การได้ทำหน้าที่ของตน โดยสมบูรณ์
// ความเป็นมา
เหตุการณ๋ ภัยพิบัติ "สินามึ" เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ได้กระตุ้นกระแสธารน้ำใจขนาดมหึมาของประชาชนทั่วประเทศและทั่วโลกให้หลั่งไหลมาโอบอุ้มผู้ประสบเคราะห์กรรมอย่างล้นหลาม อย่างไม่เคนปรากฏมาก่อน
ในขณะที่องค์กรภาครัฐในพื้นที่ อยู่ในสภาวะช็อคจากเหตุการณ์และตรึงเครียดอยู่กับการรอรับคำสั่งจากทางหน่วยเหนือนั้น ปรากฏว่ามีคลื่นอาสาสมัครและกลุ่มองค์กร ภาคประชาสังคมทั้งในและนอกพื้นที่ได้รวมตัว เชื่อมโยงการดำเนินงานและก่อตัวเป็นเครือข่ายเพื่อเข้าไปช่วยเหลือชุมชนและประชาชนที่กำลังเดือดร้อนอย่างแข็งขันเคียงคู่กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เครือข่ายศิลปินเพื่อชีวิต ได้เล็งเห็นช่องว่างและตระหนักในปัญหานี้ จึงได้ริเริ่มรวมตัวกันจัดงานมหกรรมดนตรี "รวมพลคนอาสา ธารรัก ธารน้ำใจ สู่ไทยอันดามัน" ขึ้นในวันที่ 27 มีนาคม 2548 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ท่าพระจันทร์ เพื่อระดมทุนไปสนับสนุนการดำเนินงานของกลุ่มอาสาสมัครและองค์กรภาคประชาสังคมนี้ขึ้น และเป็นที่มาของอัลบั้มเพลงชุดนี้
อัลบั้ม รวมพลคนอาสา ธารรัก ธารน้ำใจ สู่ไทยอันดามัน Vol3. มหกรรมรวมน้ำใจครั้งยิ่งใหญ่ของศิลปินเพื่อชีวิต โดย เครือข่ายศิลปินเพื่อชีวิต ร่วมกับ มูลนิธิสายธารประชาธิปไตย, สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา, มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ, สหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, มูลนิธิมิตรภาพสู่ท้องถิ่น, มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์, สถาบันการเรียนรู้และพัฒนาประชาสังคม, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ คณะกรรมการเตรียมงาน 30 ปี 6 ตุลา.. ขอคารวะน้ำใจอันยิ่งใหญ่ของคนไทยทั้งประเทศ เผยแพร่โดย บ้านศิลปะ ดนตรี กวีประชาชน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)