หลังจากที่ได้ทำ MV เพลงน้ำท่วมไทย น้ำใจท่วมท้น โดย PURI ล่าสุดได้ วงขับร้องประสานเสียงแห่งมหาวิทยาลัยบูรพา มาร่วมร้องเพลงนี้ เพื่อให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
เพลงนี้มอบให้เป็นสาธารณะสมบัติ เรียบเรียงดนตรีโดย อ.ธนิสร์ ศรีกลิ่นดี บทเพลงโดย ไก่ แมลงสาบ,สุเวศน์ ภู่ระหงษ์ ศิลปิน:แฮมเมอร์,สีเผือก คนด่านเกวียน, คีตาญชลี, จ่าหรอย เฮนรี่, ต่าย ศรัณพร ,ไก่ แมลงสาบ และวงขับร้องประสานเสียงแห่งมหาวิทยาลัยบูรพา หมายเหตุ เนื่องจากภาวะน้ำท่วม หลายศิลปินจึงยังไม่ได้เข้ามาบันทึกเสียงเช่น หงา คาราวาน,ฟอร์ด สบชัย ไกรยูรเสน ,จั๊ก ชวิน, ฯลฯ เมื่อเสร็จสมบูรณ์แล้วจะแจ้งให้ท่านได้ทราบต่อไป
วันเสาร์ที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554
วันพฤหัสบดีที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554
ชาวบ้าน อัดกรมชลฯ อำพรางข้อมูลโครงการผันน้ำอีสาน
วันนี้(23 พฤศจิกายน) เวลา 08.30 – 12.00 น. ณ หอประชุมที่วาการอำเภอเมือง จังหวัดเลย ได้มีการจัดเวทีการประชุมระดั บชุมชนและประชาคม ครั้งที่ 2 โครงการศึ กษาความเหมาะสมและผลกระทบสิ่ งแวดล้อม(EIA) และการประเมินสิ่งแวดล้อมระดั บยุทธศาสตร์(SEA) ภายใต้ โครงการบริหารจัดการน้ำโขง-เลย- ชี-มูล โดยแรงน้ำถ่วง ภาคตะวันออกเฉียง ซึ่งกรมชลประทานได้ว่าจ้าง บริษัทปัญญาคอลซัลแตนท์ จำกัด บริษัทครีเอทีฟเทคโนโลยี จำกัด บริษัท เอส เอ็น ที คอนซัลแตนท์ จำกัด และบริษัท เซ้าอีสเอเชียเทคโนโลยี จำกัด ให้ดำเนินการจัดเวทีเพื่ อนำเสนอข้อมูลโครงการศึกษาและรั บฟังความคิดเห็นของประชาชนผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย ภาคประชาสังคมที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนสาธารณชนที่มีความสนใจเข้ าร่วมเวทีในครั้งนี้
บรรยากาศของการจัดเวทีในครั้งนี
ทั้งนี้ นายทรงศักดิ์ เสาวัง ผู้อำนวยการกลุ่มการมีส่วนร่
“เวทีในครั้งนี้จัดขึ้นมาเพื่ อที่จะมาฟังความคิดเห็นจากพี่น้ องประชาชน และหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้ องต่อการที่จะดำเนินการโขงเลยชี มูล ว่ามีความคิดเห็นต่อโครงการอย่ างไรบ้าง ซึ่งขอเน้นย้ำว่าขั้ นตอนของโครงการนั้น อยู่ในขั้นตอนของการศึกษา เพื่อพยายามจะหาทางเลือกที่ หลากหลายของการทำโครงการ ซึ่งถ้าหากได้ทำขึ้นมาจริงๆ โครงการก็จะเกิดประโยชน์ต่ อเกษตรกรในภาคอีสานเป็นอย่ างมาก”
ด้านนายกัญ วงศ์อาจ ตัวแทนชาวบ้านจากอำเภอเชี ยงคานจังหวัดเลย ได้แสดงความคิดเห็นภายในเวที ในครั้งนี้ว่า การชี้แจงถึงรายละเอี ยดของโครงการยังไม่ชัดเจน พยายามที่จะหลีกเลี่ยงที่จะพู ดถึงผลกระทบของโครงการ
“สิ่งที่สังเกตได้ชัดในเวทีในวั นนี้คือ กรมชลหลีกเลี่ยงที่จะไม่พูดถึ งเขื่อนเชียงคานที่เป็นส่วนหนึ่ งของโครงการ ซึ่งถ้าหากสร้างขึ้นมาเพื่อที่ จะดันน้ำโขงให้สูงขึ้นเพื่อผั นน้ำที่ปากน้ำเลยนั้น สิ่งที่ตามมาจะเกิดความเสี ยหายเป็นอย่างมาก หมู่บ้านท้ายน้ำจะถูกน้ำท่วม ระบบนิเวศถูกทำลาย แต่กลับไม่มีการชี้แจงข้อมู ลในส่วนนี้ในเวที พูดแต่รายละเอียดเชิงเทคนิค และผลประโยชน์จากโครงการเพียงด้ านเดียวเท่านั้น และในหลายเวทีเวลาถามถึงความชั ดเจนต่อปัญหาผลกระทบที่จะเกิดขึ ้น กรมชลก็จะบอกเพียงว่ายังอยู่ ในขั้นตอนของการศึกษา เพื่อที่จะหาทางเลือกที่เหมาะสม อย่าเพิ่งกังวลใจ”
ในส่วนของ นายสุทธิ แถวบุญตา ตัวแทนชาวบ้านจากกลุ่มอนุรักษ์ แม่น้ำโขง อำเภอปากชม จังหวัดเลย ได้กล่าวถึงการจัดเวทีประชุ มระดับชุมชนและประชาคมในครั้งนี ้ว่า
“น่าจะมีการเอาชาวบ้านที่อยู่ ในพื้นที่ๆ จะได้รับผลกระทบที่จะเกิดขึ้ นจริงๆ มารับฟังข้อมูล และแสดงความคิดเห็น เพราะการจัดเวทีในครั้งนี้ และหลายครั้งที่ผ่านมา ก็มักจะเชิญแต่ผู้นำ ซึ่งในความเป็นจริงผู้ที่จะได้ รับความเดือดร้อมก็คือชาวบ้ านในพื้นที่ ซึ่งเป็นเจ้าของที่ดิน และทำกินในบริเวณที่เป็นพื้นที่ โครงการ อีกอย่างหนึ่งก็คือการชี้ แจงของกรมชลนั้นจะมาพูดถึงแต่ เรื่องการชดเชยความเสี ยหายของชาวบ้านอย่างเดียวไม่ได้ ต้องชี้ให้ชัดไปเลยถึ งผลกระทบและความเสียหายที่จะเกิ ดขึ้นของโครงการอย่างชัดเจนให้ กับชาวบ้านในพื้นที่ได้รับรู้”
ผู้สื่อข่าวรายงานเพิ่มเติมว่า เมื่อวันที่ 22 พ.ย.ทางกรมชลประทานก็ได้จัดเวที ในลักษณะเดียวกันนี้ขึ้น ณ สำนักงานเขตพื้นที่การศึ กษาประถมศึกษา อุดรธานี เขต 3 อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี โดยมีผู้เข้าร่วมกว่า 100 คน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้แทนจากส่ วนราชการ และองค์การปกครองท้องถิ่น แต่มีประชาชนในพื้นที่ดำเนิ นโครงการมาเข้าร่วมไม่ถึง 10 ราย เนื่องจากว่าไม่รับทราบว่าจะมี การจัดเวทีดังกล่าว
โดย ทางด้านนายสุวิทย์ กุหลาบวงษ์ เลขาธิ การคณะกรรมการประสานงานองค์กรพั ฒนาเอกชนภาคอีสาน (กป.อพช.อีสาน) ได้เปิดเผยกับผู้สื่อข่าวต่ อการจัดเวทีประชาคมทั้งสองครั้ งของกรมชลประทาน ว่า
โครงการจัดการน้ำขนาดใหญ่ที่ผ่ านๆมาของรัฐคือ เน้นชูประเด็นเรื่ องของผลประโยชน์ที่เกษตรกรหรื อประชาชนในพื้นที่โครงการจะได้ รับอย่างมหาศาล โดยกลบซ่อนอำพรางชุดข้อมูลที่ แท้จริงเอาไว้ เช่น เป้าหมายในการพัฒนาพื้นที่อุ ตสาหกรรม ผลกระทบต่อผู้คนในชุมชนท้องถิ่น ปัญหาสิ่งแวดล้อมและปัญหาสังคม เรื่องกระบวนการมีส่วนร่วม
“สิ่ง ที่เกิดขึ้นได้ชี้ให้เห็นว่ าเวทีประชาคมที่กรมชลฯกล่าวอ้ างว่าเป็นการสร้าง การมีส่วนร่วมนั้นเป็นเพี ยงการจัดฉากเพื่อสร้ างความชอบธรรมให้โครงการสามารถ เดินหน้าต่อไปสู่ธงที่ตั้ งเอาไว้แล้ว คือมีโครงการโขงเลย ชี มูล เกิดขึ้นบนแผ่นดินอีสาน” นายสุวิทย์กล่าว
นาย สุวิทย์ ยังกล่าวอีกว่า ขณะที่กรมชลฯได้เดินสายจัดเวที รับฟังความคิดเห็นอย่างต่อเนื่ องในสัปดาห์นี้ แต่ความเคลื่อนไหวในพื้นที่ ดำเนินโครงการหลายแห่ง กลับเป็นไปในทิศทางตรงกันข้ ามโดยมีความพยายามผลักดั นโครงการให้เกิดขึ้น อย่างเร่งเร้า เช่น ในพื้นที่ลุ่มน้ำลำพะเนียงที่มี แผนจะเข้าไปขยายลำห้วยให้มี ความกว้างเพิ่ม ขึ้นอีก ด้านพื้นที่ ต.ห้วยโมง อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี เองได้มีหน่วยงานรัฐเข้ามากดดั นให้ชาวบ้านอนุเคราะห์ที่ดินเพื ่อขุดคลองผัน น้ำโดยไม่มีค่าเวนคืนใดๆทั้งสิ้ น
“ฉะนั้น เร็วๆนี้ผมและประชาชนที่อาศั ยอยู่ในพื้นที่ดำเนิ นโครงการจะยื่นหนังสื อตรวจสอบโครงการนี้ทั้งระบบเพื่ อให้เกิดความโปร่งใส เป็นธรรม และนำไปสู่การแสวงหาทางเลือกให้ กับจัดการน้ำที่เหมาะสมกับในแต่ ละพื้นที่ที่มีสภาพนิเวศแตกต่ างกัน” เลขาธิการ กป.อพช.อีสาน กล่าวทิ้งท้าย
/-/-/-/--/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/ -/-/-/-/-/-/-/-/-/-/--/-/-/-/- /-/--/
สมพงศ์ อาษากิจ
ศูนย์สื่อชุมชนเพื่อสังคมที่เป็ นธรรม
086-2317637
วันจันทร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554
ผู้พักพิง ณ ศูนย์พักพิงชั่วคราวจังหวัดชลบุรี มีจำนวนลดลงทุกวันแต่ยังให้การช่วยเหลืออย่างเต็มที่ และมีการจัดหางานให้ผู้พักพิงมีอาชีพ
วันจันทร์ที่ 21พฤศจิกายน พ.ศ.2554นายภัครธรณ์ เทียนไชย รองผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี ในฐานะผู้อำนวยการศูนย์พักพิงจั งหวัดชลบุรี เปิดเผยว่าขณะนี้จังหวัดชลบุรี ได้เปิดศูนย์พักพิง ฯ ครบ 28วัน มี อพยพจำนวนทั้งสิ้น7,610 คน แยกเป็นชาย 3,450 คน หญิง 4,160 คน และเด็ก 1,769 คนแยกเป็นศูนย์จังหวัดตั้งขึ้น จำนวน 6,010 คนและศูนย์พักพิงที่จัดตั้งขึ้ นในพื้นที่จังหวัด มีจำนวน 1,600คนจังหวัดชลบุรีมีจำนวนผู้ พักพิงในศูนย์พักพิงจังหวัดชลบุ รี ระยะที่ 1และศูนย์พักพิงอื่น ๆ ที่จัดตั้งขึ้นในจังหวัดชลบุรี จำนวนทั้งสิ้น 6,010 คนเป็นชาย 2,847คน หญิง 3,163คน เป็นเด็ก 1,275 คน ส่วนศูนย์พักพิงอื่นๆที่จัดตั้ งในพื้นที่จังหวัดชลบุรี มีผู้อพยพจำนวน 1,600 คน เป็นชาย 603 คน เป็นหญิง 997 คน และเด็ก 494คน
สำหรับศูนย์พักพิงชั่วคราวชลบุ รีได้มีการให้บริการด้านต่างๆ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภั ยโดยเริ่มที่การแพทย์ และสาธารณสุข จัดให้มีการบริการรั กษาพยาบาลภาคในศูนย์และบางรายต้ องจัดส่งต่อไปยังโรงพยาบาลชลบุ รีถ้าเป็นผู้ป่วยหนั กทางโรงพยาบาลได้รับไว้รักษาที่ โรง พยาบาลส่วนโรคที่พบมากที่สุดมี ดังนี้ โรคระบบทางเดินหายใจ โรคติดเชื้อปรสิ ตรองลงมาโรคระบบไหลเวียน โรคระบบย่อยอาหาร โรคระบบกล้ามเนื้อ โรคผิวหนังการเยียวยาให้การช่ วยเหลือและฟื้นฟูสุขภาพจิต ประเมินด้านสุขภาพจิต โรคซึมเศร้ารักษาจิตเวช ด้านการสาธารณสุขได้จัดให้มี การสำรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที ่พักอาศัยผ่านทุกตึก ได้จัดการปรับปรุงน้ำดื่มและน้ ำใช้การเก็บตัวอย่างอาหารและน้ ำเพื่อความสะอาดและถูกสุขอนามัย
ในวันนี้ได้มีรถจากทางบริษัทต่ างๆ ที่ผู้อพยพได้ทำการสมัครงานไว้ เข้ามารับพนักงานเพื่ อไปทำงานในทุกๆวัน ตั้งแต่เวลา 08.00 น. โดยได้ค่าแรงเริ่มต้นที่วันละ 250 บาทต่อวันเพื่อเป็นการช่วยเหลื อผู้ประสบภัยให้มีงานทำโดยทั่ วกัน.......ษลีก์ปรีดิ์ยา/ข่าว
วันอาทิตย์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554
ข่าวประชาสัมพันธ์จาก ศูนย์พักพิงจังหวัดชลบุรี 20 พ.ย.2554
สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่ งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน หรือ สสค. ร่วมพลิกวิกฤตเป็นโอกาส ด้วยการเชิญชวนโรงเรียนหรือองค์ กรที่จัดการศึกษาทางเลือกในพื้ นที่ประสบอุทกภัย สู่การจัดการเรียนการสอน “เด็กไทยเรียนรู้จากภัยพิบัติ” ใน โครงการพัฒนาการศึกษาทางเลือก ครั้งที่ 1/2554 สำหรับพื้นที่ที่ประสบอุทกภัย โดยสนับสนุนใน 3 ประเด็นสำคัญคือ 1.การเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้ อมและภัยพิบัติ 2 . การพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อรับมื อกับสถานการณ์ภัยพิบัติ และ 3 การฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพเครื อข่ายและคนทำงาน
การสนับสนุนโครงการในครั้งนี้ จะแบ่งออกเป็น ประเภทโครงการเดี่ยว งบประมาณไม่เกิน 200,000 บาท และประเภทโครงการกลุ่ม งบประมาณไม่เกิน 300,000 บาท เปิดรับข้อเสนอโครงการ ตั้งแต่บัดนี้ จนถึงวันที่ 13 ธ.ค.นี้ ส่งโครงการได้ที่ ตู้ปณ.34 ปณฝ.สนามเป้า กทม.10406 หรือดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที ่ www.QLF.or.th หรือโทร 02-619-1811
ขสมก.จัดรถบริการไป – กลับ ศูนย์พักพิงจังหวัดชลบุรี - ศูนย์การค้าแฟชั่นไอซ์แลนด์ทุ กวัน
นางสาวกัญญรัตน์ เกียรติสุภา ประชาสัมพันธ์จังหวัดชลบุรี ได้รับแจ้งว่า ขสมก.ว่าในช่วงนี้จะมีผู้พักพิ งเดินทางมาดูบ้านเรื อนของตนเองที่ถูกน้ำท่วมเป็ นประจำ ขสมก.จึงได้จัดรถให้บริการฟรี ระหว่างแฟชั่นไอซ์แลนด์-ศูนย์พั กพิงสถาบันพลศึกษา วิทยาเขตชลบุรี ซึ่งเป็นรถโดยสารธรรมดาให้บริ การฟรี ระหว่างแฟชั่นไอซ์แลนด์-ศูนย์พั กพิงสถาบันพลศึกษา วิทยาเขตชลบุรี เที่ยวไป เที่ยวแรกจากห้างแฟชั่นไอซ์ แลนด์ เวลา 08.00 น. เที่ยวสุดท้ายเวลา17.00 น. เที่ยวกลับ เที่ยวแรกจากศูนย์พักพิง สถาบันพลศึกษา วิทยาเขตชลบุรี เวลา 10.30 น. เที่ยวสุดท้ายเวลา 19.30น. รถออกวิ่งให้บริการทุก ๆ 1 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 08.00-19.30น.ของทุกวัน จนกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง สอบถามเพิ่มเติม Call Center 038-054186-96
การสนับสนุนโครงการในครั้งนี้ จะแบ่งออกเป็น ประเภทโครงการเดี่ยว งบประมาณไม่เกิน 200,000 บาท และประเภทโครงการกลุ่ม งบประมาณไม่เกิน 300,000 บาท เปิดรับข้อเสนอโครงการ ตั้งแต่บัดนี้ จนถึงวันที่ 13 ธ.ค.นี้ ส่งโครงการได้ที่ ตู้ปณ.34 ปณฝ.สนามเป้า กทม.10406 หรือดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที
ขสมก.จัดรถบริการไป – กลับ ศูนย์พักพิงจังหวัดชลบุรี - ศูนย์การค้าแฟชั่นไอซ์แลนด์ทุ
นางสาวกัญญรัตน์ เกียรติสุภา ประชาสัมพันธ์จังหวัดชลบุรี ได้รับแจ้งว่า ขสมก.ว่าในช่วงนี้จะมีผู้พักพิ
ศูนย์พักพิงจังหวัดชลบุรียกทั พดาวตลกเต๊ะฟุตบอลกระชับมิตรผุ้ พักพิง
พร้อมเต้นแอโรบิคในช่วงเย็น
นายสมพล เข็มกำเหนิด หัวหน้าฝ่ายกิจกรรมศูนย์พักพิ งจังหวัดชลบุรี เปิดเผยว่าปัจจุบันมีผู้เข้าพั กพิงที่ศูนย์พักพิงจังหวัดชลบุ รี จำนวนทั้งหมด 6,072 คน และพบว่าสภาวะจิตใจของผู้ประภั ยดีขึ้นมากจึงต้องการให้ดีทั้ งสุขภาพกายและจิตใจและต้ องการให้ผู้พักพิงเห็นความสำคั ญของการออกกำลังกายและใช้เวลาว่ างให้เกิดประโยชน์ จึงได้จัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้ผู้พักพิงได้ผ่อนคลาย โดยในวันนี้ (20 พ.ย.54) ตั้งแต่เวลา 14.00 น. เป็นต้นไป จะมีการแข่งขันฟุตบอล ที่สนามกีฬาสถาบันพลศึกษาวิ ทยาเขตชลบุรี มีดารา ตลกคณะยาว อยุธยา นำดาวตลกมาแสดงดนตรี ตลกและเต๊ะฟุตบอลกับผู้พักพิง 2 คู่ คือ ฟุตบอลชายและฟุตบอลหญิง
นอกจากนี้ โรงเรียนกีฬาจังหวัดชลบุรีร่ วมกับกระทรวงการท่องเที่ยวและกี ฬา ยังได้จัดกิจกรรม แอโรบิค แดนซ์ เพื่อผู้ประสบภัย และช่วยส่งเสริมสุขภาพทุกวัน ตั้งแต่เวลา 17.30 น. – 18.30 น. ณ สนามกีฬาฟุตซอลหน้าตึกอีกด้วย จึงขอเชิญพ่อแม่พี่น้องผู้พักพิ งทุกคนร่วมเชียร์ฟุตบอลและเข้ าร่วมการเต้นแอโรบิคแดนซ์โดยพร้ อมเพรียงกัน
วันเสาร์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554
20photo+VDO เวทีรับฟังความคิืดเห็๋น ร่าง พรบ กองทุนพัฒนาสื่อ เมื่อ 18 พ.ย.2554
20photo+VDO เวทีรับฟังความคิืดเห็๋น ร่าง พรบ กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ที่ศูนย์จีนศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา จ.ชลบุรี เมื่อ 18 พ.ย.2554
น้องแป้ง น้่องฝ้าย (บุญยนุช โยยิ่ง-ศิริกานต์ แก้วสังฆ์ ) สองสาวคนเก่ง
สองนักเรียนคนเก่ง น.ส.ศิริกานต์ แก้วสังฆ์ ม.5/2 และ น.ส.บุญยนุช โยยิ่ง ม.6/1 ที่มาแสดงนาฏศิลป์ รำเปิดงาน ในช่วง Grand Opening Show จากเครือข่ายเยาวชนภาคตะวันออก ในเวทีประชุมรับฟังความคิดเห็น ร่าง พรบ.กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ เมื่อ 18 พ.ย.2554 ที่ศูนย์จีนศึกษา ม.บูรพา จ.ชลบุรี ซึ่งในช่วงรับประทานอาหารว่าง คุณพระอาทิตย์ ได้เข้าไปพูดคุยและชื่นชมในการแสดงของทั้งคู่ พร้อมทั้งขอชื่อและเบอร์โทรติดต่อไว้ ด้วยกานเห็นคุณค่าของศิลปะวัฒนธรรมไทย ทางคุณพระอาทิตย์จะช่วยสงเสริมสนับสนุน เพื่อร่วมกันเผยแพร่ศิลปะวัฒนธรรมไทยให้แพร่หลายมากขึ้น
น้องคนเก่ง 2สาวรำไทยในช่วงเปิดงานกองทุนสื่อ น้องแป้ง น้องฝ้าย
น้องคนเก่ง 2สาวรำไทยในช่วงเปิดงานกองทุนสื่อ น้องแป้ง น้องฝ้าย
วันศุกร์ที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554
องค์กร Shelter Box ขอรับเต็นท์คืนจากศูนย์พักพิงจังหวัดชลบุรีเนื่องจากจะนำไปช่วยผู้ประสบภัยที่อื่น
นายภัครธรณ์ เทียนไชย รองผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี ในฐานะผู้อำนวยการศูนย์พักพิงจั งหวัดชลบุรี เปิดเผยว่า ตามที่องค์กรShelter Box ได้มอบเต็นท์ Midi จำนวน 200 หลัง ไว้กับศูนย์พักพิงจังหวัดชลบุรี ณ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชลบุรีนั้น เนื่องจากขณะนี้สถานการณ์น้ำท่ วมฉุกเฉินในกรุงเทพมหานครเริ่ มทวีขึ้นและ ได้มีการจัดตั้งศูนย์อพยพเพื่ อช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากน้ำท่ วม และมีความต้องการใช้เต็นท์อย่ างเร่งด่วน เนื่องจากสถานที่ที่ศูนย์อพยพต่ างๆ ได้เกิดปัญหาน้ำท่วมเช่นเดียวกั นหลายแห่ง ทางองค์กร Shelter Box จึงขอรับเต็นท์ จำนวน 183 หลัง จากศูนย์พักพิงชลบุรีคืนเพื่ อนำมาช่วยเหลือผู้ประสบภัยในกรุ งเทพมหานครต่อไป
ทางศูนย์พักพิงจังหวัดชลบุรี ณ สถาบันพลศึกษา วิทยาเขตชลบุรี ได้ทำการส่งมอบเต็นท์จำนวนดั งกล่าวคืนให้แก่องค์กรShelter Box เพื่อนำไปช่วยเหลือผู้ประสบภั ยในกรุงเทพมหานครแล้ว จึงแจ้งมาเพื่อประชาสัมพันธ์ให้ ทราบโดยทั่วกัน
ผู้พักพิง ณ ศูนย์พักพิงชั่วคราวจังหวัดชลบุ รี มีจำนวนลดลง แต่ยังให้การช่วยเหลือประชาชนผู ้ประสบภัยอย่างเต็มที่
วันศุกร์ที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 นายภัครธรณ์ เทียนไชย รองผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี ในฐานะผู้อำนวยการศูนย์พักพิงจั งหวัดชลบุรี เปิดเผยว่า ขณะนี้จังหวัดชลบุรีได้เปิดศู นย์พักพิง ฯ ครบ25 วัน มี อพยพจำนวนทั้งสิ้น 7,750 คน แยกเป็นชาย 3,501 คน หญิง 4,249 คน และเด็ก 1,794 คน แยกเป็นศูนย์จังหวัดตั้งขึ้น จำนวน 6,163 คน และศูนย์พักพิงที่จัดตั้งขึ้ นในพื้นที่จังหวัด มีจำนวน 1,587 คน จังหวัดชลบุรีมีจำนวนผู้พักพิ งในศูนย์พักพิงจังหวัดชลบุรี ระยะที่ 1 และศูนย์พักพิงอื่น ๆ ที่จัดตั้งขึ้นในจังหวัดชลบุรี จำนวนทั้งสิ้น 6,163 คน เป็นชาย 2,911 คน หญิง 3,252 คน เป็นเด็ก 1,290 คน ส่วนศูนย์พักพิงอื่นๆ ที่จัดตั้งในพื้นที่จังหวัดชลบุ รี มีผู้อพยพจำนวน 1,587 คน เป็นชาย 590 คน เป็นหญิง 997 คน และเด็ก 504 คน
สำหรับศูนย์พักพิงชั่วคราวชลบุ รี ได้มีการให้บริการด้านต่างๆ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย โดยเริ่มที่การแพทย์และสาธารณสุ ข จัดให้มีการบริการรั กษาพยาบาลภาคในศูนย์ และบางรายต้องจัดส่งต่อไปยั งโรงพยาบาลชลบุรี ถ้าเป็นผู้ป่วยหนั กทางโรงพยาบาลได้รับไว้รักษาที่ โรง พยาบาล ส่วนโรคที่พบมากที่สุดมีดังนี้ โรคระบบทางเดินหายใจ โรคติดเชื้อปรสิต รองลงมาโรคระบบไหลเวียน โรคระบบย่อยอาหาร โรคระบบกล้ามเนื้อ โรคผิวหนัง การเยียวยาให้การช่วยเหลือและฟื ้นฟูสุขภาพจิต ประเมินด้านสุขภาพจิต โรคซึมเศร้า รักษาจิตเวช ด้านการสาธารณสุข ได้จัดให้มีการสำรวจสุขาภิบาลสิ ่งแวดล้อมที่พักอาศัยผ่านทุกตึก ได้จัดการปรับปรุงน้ำดื่มและน้ ำใช้ การเก็บตัวอย่างอาหารและน้ำเพื่ อความสะอาดและถูกสุขอนามัย..... .................
.ษลีก์ปรีดิ์ยา/ข่าว
รายงานข้อมูลและการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย/ผู้พักพิงจังหวัดชลบุรี ประจำวันที่ ....๑๘..พฤศจิกายน. พ.ศ. ๒๕๕๔
รายงานข้อมูลและการช่วยเหลือผู้ ประสบอุทกภัย/ผู้พักพิงจังหวั ดชลบุรี
ประจำวันที่ ....๑๘..... เดือน ...พฤศจิกายน.... พ.ศ. ๒๕๕๔ เวลา ๐๘.๐๐ น.
______________________________ ______________________________ ______________________________ ___
- จำนวนผู้พักพิงในศูนย์พักพิงจั
งหวัดชลบุรี ระยะที่ ๑ และศูนย์พักพิงอื่นๆ ที่จัดตั้งขึ้นในจังหวัดชลบุรี จำนวนทั้งสิ้น ...๗,๗๕๐.... คน เป็นชาย ...๓,๕๐๑.... คน หญิง ...๔,๒๔๙..... คน ในจำนวนดังกล่าว เป็นเด็ก ..๑,๗๙๔... คน แยกเป็น ๑.๑ จำนวนผู้พักพิงในศูนย์พักพิงจั งหวัดชลบุรี ระยะที่ ๑ มีจำนวนทั้งสิ้น ..๖.,๑๖๓.... คน
- เป็นชาย ..๒,๙๑๑.. คน หญิง ...๓,๒๕๒,.. คน ในจำนวนดังกล่าว เป็นเด็ก ...๑,๒๙๐.. คน
ลำดับที่ | สถานที่พักพิง | จำนวนผู้พักพิง | จำนวนเด็ก | รับได้อีก | |||
ยอดรับได้ | ปัจจุบัน ผู้พักพิง | เพศ | |||||
ชาย | หญิง | ||||||
๑ | สถาบันการพลศึกษาชลบุรี๑.๑ โรงยิมเนเซียมโรงเรียนกีฬา A ๑.๒ โรงอาหาร B ๑.๓ อาคารเรียน C ๑.๔ โรงอาหารวิทยาเขต D ๑.๕ วิทยาบริการใหม่ E ๑.๖ วิทยาบริการเก่า F ๑.๗ โรงยิมเนเซียมบาสเกตบอล G ๑.๘ อาคารเรียน ๑H ๑.๙ อาคารเรียน ๒I ๑.๑๐ สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาJ | ๓,๔๔๖ ๔๙๕ ๑๐๙ ๓๘๕ ๔๘๗ ๖๕๙ ๑๙๙ ๒๙๓ ๒๖๖ ๓๙๑ ๑๖๒ | ๓,๔๔๖ ๔๙๕ ๑๐๙ ๓๘๕ ๔๘๗ ๖๕๙ ๑๙๙ ๒๙๓ ๒๖๖ ๓๙๑ ๑๖๒ | ๑,๕๗๗ ๒๒๕ ๕๒ ๑๙๒ ๒๑๒ ๒๘๓ ๘๘ ๑๓๓ ๑๒๐ ๑๙๘ ๗๔ | ๑,๘๖๙ ๒๗๐ ๕๗ ๑๙๓ ๒๗๕ ๓๗๖ ๑๑๑ ๑๖๐ ๑๔๖ ๑๙๓ ๘๘ | ๗๐๙ ๑๑๒ ๒๓ ๔๑ ๑๐๐ ๑๓๕ ๒๗ ๗๕ ๖๘ ๗๓ ๕๕ | |
๒ | สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค ๓ | ๔๐๘ | ๔๐๘ | ๒๗๔ | ๑๓๔ | ๕๓ | |
๓ | ศูนย์ศึกษาพัฒนาชุมชนชลบุรี | ๒๕๖ | ๒๕๖ | ๑๒๐ | ๑๓๖ | ๓๒ | |
๔ | ศูนย์ฝึกอบรมตำรวจภูธรภาค ๒ | ๕๐๐ | ๓๐๑ | ๑๒๙ | ๑๗๒ | ๘๖ | |
๕ | ค่ายนวมินทราชินี | ๗๐๐ | ๕๗๙ | ๒๕๙ | ๓๒๐ | ๑๓๑ | |
๖ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี | ๖๐๗ | ๖๐๗ | ๒๗๙ | ๓๒๘ | ๑๐๓ | |
๗ | ค่ายลูกเสือโรงเรียนอัสสัมชัญ | ๑,๐๐๐ | ๓๓๓ | ๑๕๗ | ๑๗๖ | ๗๘ | |
๘ | มูลนิธิคุณพ่อเรย์ (พระมหาไถ่ พัทยา) | ๔๐๐ | ๒๓๓ | ๑๑๖ | ๑๑๗ | ๙๘ | |
๙ | สวนสัตว์เปิดเขาเขียว | ๑๐๐ | - | - | - | - | |
๑๐ | สวนเสือศรีราชา | ๕๐๐ | - | - | - | - | |
๑๑ | วัดเขาน้อย ( อำเภอศรีราชา ) | ๓๕๐ | - | - | - | - | |
รวมทั้งสิ้น | ๘,๒๖๗ | ๖,๑๖๓ | ๒,๙๑๑ | ๓,๒๕๒ | ๑,๒๙๐ |
- ๑.๒ จำนวนผู้พักพิงของศูนย์พักพิงอื
- เป็นชาย ..๕๙๐.. คน หญิง ..๙๙๗.. คน ในจำนวนดังกล่าว เป็นเด็ก ..๕๐๔.. คน
ลำดับที่ | สถานที่พักพิง | จำนวนผู้พักพิง | จำนวนเด็ก | รับได้อีก | |||
ยอดรับได้ | ปัจจุบัน ผู้พักพิง | เพศ | |||||
ชาย | หญิง | ||||||
๑ | ศูนย์ฝึกอาชีพเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพฯ ครบ ๓๖ พรรษา | ๓๘๕ | ๓๘๕ | ๑๖๘ | ๒๑๗ | ๒๔๙ | |
๒ | วัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร | ๖๓๐ | ๔๖๗ | ๒๑๒ | ๒๕๕ | ๙๔ | |
๓ | ทัพเรือภาคที่ ๑๔.๑ หน่วยบัญชาการต่อสู้ ๔.๒ ฐานทัพเรือสัตหีบ ๔.๓ หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน ๔.๔ กองเรือยุทธการ | ๑,๕๐๐ ๓๐๐ ๕๐๐ ๓๐๐ | ๒๖๐ | ๑๑๐ | ๑๕๐ | ๗๑ | |
๔ | ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้อง | ๕๐๐ | ๘๗ | ๓๑ | ๕๖ | ๒๑ | |
๕ | สถานสงเคราะห์คนพิการการุ | ๒๔๙ | ๒๔๙ | ๑๗ | ๒๓๒ | ๕๙ | |
๖ | ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสั | ๑๒๐ | ๑๒๐ | ๔๔ | ๗๖ | ๙ | |
๗ | วัดหนองปรือ (อำเภอบ้านบึง) | ๕๐ | ๑๙ | ๘ | ๑๑ | ๑ | |
๘ | มหาวิทยาลัยบูรพา | ๒๐๐ | - | - | - | - | |
รวมทั้งสิ้น | ๔,๗๓๔ | ๑,๕๘๗ | ๕๙๐ | ๙๙๗ | ๕๐๔ |
- การปฏิบัติงานด้านการแพทย์
และสาธารณสุข
ลำดับที่ | บริการ | จำนวนผู้รับบริการ | ยอดสะสม | หมายเหตุ |
๒.๑ ด้านการรักษาพยาบาล | ||||
๑) | บริการรักษาพยาบาล | ๕๐๐ | ๑๐,๓๖๐ | |
๒) | ส่งต่อ | ๒๕ | ๕๓๑ | |
๓) | รับไว้ในโรงพยาบาลชลบุรี | ๕ | ๘๗ | |
๔) | ผู้ป่วยฉุกเฉิน | - | ๒ | |
โรคที่พบมากที่สุดคือโรคระบบทางเดินหายใจ… จำนวน …๑๕๓….. ราย โรคติดเชื้อปรสิต... จำนวน...๔๕...ราย โรคระบบไหลเวียน... จำนวน …๖๒… ราย โรคระบบย่อยอาหาร.....จำนวน... โรคระบบกล้ามเนื้อ จำนวน …..๕๕… ราย โรคผิวหนัง.....จำนวน....๓๐.... |
๒.๒ ด้านการช่วยเหลือและฟื้นฟู | ||||
๑) | ประเมินด้านสุขภาพจิต | ๑๓๔ | ๓,๐๗๒ | |
๒) | โรคซึมเศร้า | - | ๔๐ | |
๓) | รักษาจิตเวช | - | ๒๗๑ | |
๔) | เสี่ยงฆ่าตัวตาย | - | ๗ | |
๕) | ส่งต่อ | - | ๑๑ | |
๒.๓ ด้านการสาธารณสุข | ||||
๑) | สำรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่พั | ผ่านทุกตึก | ๒๖ จุด | |
๒) | ปรับปรุงสุขาภิบาลน้ำดื่ม/น้ ๒.๑ ตรวจคุณภาพน้ำ (ชุดตรวจ ว.111) ๒.๒ ใส่คลอรีนในน้ำใช้/ห้องน้ำ (แห่ง) | ๓๐ ๑๓ | ๕๐๘ ๓๑๙ | |
๓) | ปรับปรุงสุขาภิบาลอาหาร ๓.๑ การทดสอบความสะอาดของอาหาร/น้ ๓.๒ การให้ความรู้ด้านสุขาภิ | ๑๖ ๑๔ | ๘๙๙ ๓๙๙ | |
๔) | ดำเนินการสอบสวนโรค | ๑๔ | ๒๕๖ | |
๕) | ดำเนินการเก็บสิ่งส่งตรวจ (ตัวอย่าง) | ๓ | ๒๕๐ | |
๖) | ดำเนินการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ (คน) | - | ๔,๑๙๔ |
- ๓. การปฏิบัติงานด้านการรับสมั
กิจกรรม | จำนวนผู้สมัคร | การบรรจุงานได้ทันที | หมายเหตุ | ||
คน | ยอดสะสม | คน | ยอดสะสม | ||
การรับสมัครงาน | ๑๓ | ๓๖๙ | ๙ | ๑๓๐ | |
รวมทั้งสิ้น | ๑๓ | ๓๖๙ | ๙ | ๑๓๐ |
- ๔. การให้คำปรึกษาด้านแรงงาน
กิจกรรม | จำนวน | หมายเหตุ | |
คน | ยอดสะสม | ||
การให้คำปรึกษา | ๑๐ | ๑๒๐ | |
รวมทั้งสิ้น | ๑๐ | ๑๒๐ |
๕. การให้บริการท่องเที่ยว “ผู้ว่าพาเที่ยว”
กิจกรรม | จำนวน | หมายเหตุ | |
คน | ยอดสะสม | ||
รอบเช้า - หาดบางแสน | ๖๕ | ๒,๑๔๒ | - ดำเนินการโดยสำนักงานท่องเที่ |
รอบบ่าย – วัดแสนสุข / ศาลเจ้านาจา | ๖๓ | ๑,๖๙๓ | |
รวม | ๑๒๘ | ๓,๘๓๕ |
- ๖. การบริการด้านขนส่ง
ลำดับที่ | กิจกรรม | จำนวน | หมายเหตุ | |
การบริการ | ยอดสะสม | |||
๑. | จัดการ/สนับสนุนรถบริการขนส่ง | ๒ | ๖๑ | ๑๗ พ.ย. ๕๔ สำนักงานขนส่งจังหวัดชลบุรี ( บริษัทประทุมทัวร์ ) |
๒. | ให้คำปรึกษา/แนะนำเกี่ยวกั | - | ๔๐ | |
๓. | ทำใบอนุญาตขับขี่รถยนต์/รถจั | ๓ | ๔๓ | |
รวม | ๕ | ๑๔๔ |
- ๗. งานอาสาสมัคร
ลำดับที่ | หน่วยงาน/องค์กร/สถาบันการศึกษา | จำนวนอาสาสมัครปฏิบัติงาน | หมายเหตุ | |
คน | ยอดสะสม | |||
๑. | วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (E-TECH) ๑.๑ เจ้าหน้าที่ Call Center ๑.๒ เจ้าหน้าที่งานระบบไฟฟ้า | ๒๐ ๔ | ๔๕๕ ๘๐ | ปฏิบัติงาน ๒๔ ชม. แบ่งเป็น ๓ ชุด ชุดละ ๘ ชม. |
๒. | มหาวิทยาลัยศรีปทุม | ๕๐ | ๑,๒๕๐ | |
๓. | โรงเรียนกีฬาจังหวัดชลบุรี | ๔๐๘ | ๘,๒๕๒ | |
๔. | ศูนย์ฝึกอบรมตำรวจภูธรภาค ๒ | - | ๑,๔๐๐ | |
๕. | ภาคเอกชน | ๒๓๐ | ๔,๘๒๐ | |
รวม | ๗๑๒ | ๑๖,๒๕๗ |
๘. ด้านสวัสดิการสังคม สังคมสงเคราะห์และการฝึกอาชีพ
๘.๑ ด้านสวัสดิการสังคมและสั
ลำดับที่ | กิจกรรม | รายละเอียด |
๑. | มอบรถเข็น | ๘ คัน |
๒. | ไม้เท้าขาวคนตาบอด | ๑ อัน |
๓. | ให้คำปรึกษาด้านสังคมสงเคราะห์ | ๓๒ คน |
๘.๒ ด้านการฝึกอาชีพต่างๆ
ลำดับที่ | หน่วยงานดำเนินการ | จำนวนหลักสูตร | จำนวนผู้รับการฝึก |
๑. | ศูนย์ฝึกอาชีพเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพฯ ครบ ๓๖ พรรษา | ๑๒ | ๑,๐๗๙ |
๒. | ศูนย์สงเคราะห์และฝึกอาชีพสตรี | ๓ | ๖๗ |
๓. | ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสั | ๔ | ๒๖๘ |
๔. | สถานสงเคราะห์คนพิการการุ | ๑ | ๑๕๔ |
๕. | บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวั | ๑ | ๓๗๕ |
๖. | บ้านมิตรไมตรีชลบุรี | ๑ | ๒๓๗ |
๗. | สถานพัฒนาและฟื้นฟูเด็กจังหวั | ๑ | ๑๒๖ |
๘. | สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่ | ๑ | ๖๒ |
๙. | สถานสงเคราะห์เด็กชายบ้ | ๑ | ๖๕ |
๙. งานรักษาความปลอดภัยและงานจั
ลำดับที่ | กิจกรรม | จำนวนเจ้าหน้าที่ตำรวจ/อาสาสมั | |
คน | ยอดสะสม | ||
๑. | การรักษาความปลอดภัย | ๗๐ | ๑,๓๓๐ |
๒. | งานจราจร | ๑๕ | ๒๘๕ |
๓. | งานมวลชนสัมพันธ์ (กองร้อยน้ำหวาน) | - | ๔๕๐ |
๔. | งานติดตั้งกล้องวงจรปิด | ๓๐ ตัว | ๓๐ ตัว |
รวม | ๘๕ คน/๓๐ ตัว | ๒,๐๖๕ คน/ ๓๐ ตัว |
๑๐. งานด้านสุขภาพสัตว์เลี้ยง
๑๐.๑ งานข้อมูลสัตว์เลี้ยง | |||||||
ที่ | ชนิดสัตว์ | จำนวนเจ้าของสัตว์ | จำนวนสัตว์ | เพศ | ยอดสะสม | ||
ผู้ | เมีย | เจ้าของ | จำนวนสัตว์ | ||||
๑. | สุนัข | ๒ | ๔ | ๓ | ๑ | ๑๐๐ | ๑๕๓ |
๒. | แมว | ๒ | ๒ | ๑ | ๑ | ๔๑ | ๘๘ |
๓. | กระต่าย | - | - | - | - | ๑ | ๗ |
๔. | สัตว์ปีก | - | - | - | - | ๔ | ๑๑ |
๕. | อื่นๆ(หนูแฮมเตอร์) | - | - | - | - | ๒ | ๘ |
๖. | อื่นๆ(กระถิก) | - | - | - | - | ๑ | ๑ |
รวม | ๔ | ๖ | ๔ | ๒ | ๑๔๙ | ๒๖๘ |
๑๐.๒ รายงานผลการปฏิบัติงานด้านสุ | |||||
การให้บริการ | จำนวนเจ้าของ | จำนวนสัตว์ | ยอดสะสม | หมายเหตุ | |
จำนวนเจ้าของ | จำนวนสัตว์ | ||||
ให้บริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิ | ๑ | ๑ | ๖๕ | ๙๙ | |
ให้บริการตรวจสุขภาพและรั | ๓ | ๕ | ๑๗๒ | ๒๔๒ | |
อื่นๆ | - | - | ๑๔ | ๑๘ | |
รวม | ๔ | ๕ | ๒๕๑ | ๓๕๙ |
๑๐.๓ จำนวนสัตว์เลี้ยงที่ได้รับไว้ | ||||||
จำนวนคอกที่มี | ชนิดสัตว์ | จำนวนสัตว์ | ยอดสะสม | หมายเหตุ | ||
เพศผู้ | เพศเมีย | จำนวนเจ้าของ | จำนวนสัตว์ | |||
คอกที่ ๒ | สุนัข | ๔ | ๑ | ๔ | ||
คอกที่ ๔ | สุนัข | - | ๔ | ๑ | ๔ |
สำนักงานจังหวัดชลบุรี
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)